เสี่ยง! การกินข้าวร่วมกันอาจติดเชื้อได้

เสี่ยง! การกินข้าวร่วมกันอาจติดเชื้อได้

30/08/2021

   ช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในปัจจุบันนี้ เป็นช่วงที่มียอดผู้ติดเชื้อที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากการเว้นระยะห่าง การสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือบ่อยๆ และการหลีกเลี่ยงไปสถานที่ที่แอดอัดแล้ว สิ่งที่สำคัญที่สุดเลยก็คือ การรับประทานอาหารร่วมกัน ซึ่งนั้นก็เป็นหนึ่งสาเหตุที่ทำให้เชื้อแพร่กระจายและติดต่อกันได้ง่ายดาย เพราะเนื่องจากเวลารับประทานจะต้องถอดหน้ากากอนามัยออกและสิ่งที่ขาดไม่ได้เลยในขณะที่รับประทานอาหารกันก็คือ การสนทนาระหว่างมื้ออาหาร นั่นเองครับ ซึ่งนั่นทำให้มีโอกาสที่จะแพร่เชื้อและรับเชื้อได้ง่ายมากขึ้น

 

   สำหรับพฤติกรรมเสี่ยงระหว่างที่รับประทานอาหารร่วมกันก็คือ

เมาท์เพลินเกินห้ามใจ

เมาท์เพลินเกินห้ามใจ

   เพราะเวลาพูดคุยกันละอองน้ำลายนั้นจะกระเด็นออกมา ทำให้เสี่ยงติดเชื้อและแพร่เชื้อได้

 

หันหน้าเข้าหากัน

หันหน้าเข้าหากัน

   ระยะห่างระหว่างโต๊ะถ้าไม่ได้ห่างกัน 1-2 เมตร ก็มีโอกาสเสี่ยงสูงเช่นเดียวกัน

 

ทำอาหารมากินด้วยกัน ชิมอาหารของเพื่อน

ทำอาหารมากินด้วยกัน ชิมอาหารของเพื่อน

   การใช้ภาชนะร่วมกันทำให้เกิดความเสี่ยงสูงในการติดเชื้อและแพร่เชื้อ

 

กินด้วยมือเปล่า

กินด้วยมือเปล่า

   มือเป็นจุดที่สะสมเชื้อโรค ฉะนั้นไม่ควรหยิบอาหารด้วยมือเปล่าเด็ดขาด

 

   เชื่อครับว่า ปัจจุบันนี้ทุกคนมีวิธีป้องกันตัวเองให้ห่างไกลจากการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 และสิ่งที่หลายคนมองข้ามหรือไม่ทันได้ระวังตัวก็คือ การกินข้าวร่วมกัน ซึ่งนั้นเป็นจุดเสี่ยงที่สำคัญเลยนะครับ ที่จะทำให้เราติดเชื้อรวมถึงการแพร่เชื้อได้อีกด้วยนั่นเอง อย่างไรก็ตามอย่าลืมดูแลและป้องกันตัวเองอย่างเคร่งครัดด้วยนะครับ

บทความอื่นๆ

ทำไม? ยังมีอาการเวียนหัวไม่หายหลังจากเกิดเหตุแผ่นดินไหว อาการแบบนี้ปกติหรือไม่และวิธีแก้ต้องทำอย่างไร

ทำไม? ยังมีอาการเวียนหัวไม่หายหลังจากเกิดเหตุแผ่นดินไหว อาการแบบนี้ปกติหรือไม่และวิธีแก้ต้องทำอย่างไร

31/03/2025

เกิดแผ่นดินไหวที่ประเทศไทยในหลายจังหวัดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนมาถึงกรุงเทพฯ สร้างความตื่นตระหนกเป็นอย่างมาก อีกทั้งยังมีตึกและตามอาคารบ้านเรือนที่ได้รับความเสียหาย อย่างไรก็ตามหากท่านใดที่มีอาการเวียนหัวหรืออาการเมาหลังจากเกิดเหตุแผ่นดินไหว สิ่งแรกที่ต้องปฏิบัติก็คือหลีกเลี่ยงการเดินหรือการเคลื่อนไหวเร็วก่อนนะครับ หาที่นั่งพักในที่ที่ปลอดภัย พร้อมกับดื่มน้ำเพื่อช่วยให้ร่างกายสามารถปรับสมดุล แต่ถ้าหากมีอาการเป็นเวลานานเกิน 1 สัปดาห์ หรือมีอาการรุนแรงเช่น เวียนหัวจนล้ม คลื่นไส้อาเจียนตลอดเวลา ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจสอบอาการเพิ่มเติมนะครับ หากมีข้อสงสัยหรือมีอาการผิดปกติ สามารถขอคำปรึกษาจากแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามธารณสุขได้ทันทีที่ สายด่วนสุขภาพ 1669 และสายด่วนสุขภาพจิต 1323

อ่านต่อ
แผ่นดินไหว! เกิดขึ้นที่ประเทศไทยได้อย่างไร? และแรงสั่นสะเทือนส่งผลอะไรกับประเทศไทยบ้าง

แผ่นดินไหว! เกิดขึ้นที่ประเทศไทยได้อย่างไร? และแรงสั่นสะเทือนส่งผลอะไรกับประเทศไทยบ้าง

29/03/2025

เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ช่วงเวลาบ่ายโมงตามเวลาไทย ผู้คนในหลากหลายจังหวัดและหลายพื้นที่ต่างก็รู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือน โดยคนส่วนใหญ่แล้วจะคิดว่า ตัวเองไม่สบายหรือเปล่า ทำไมมีความรู้สึกบ้านหมุน แต่เมื่อสังเกตในบริเวณรอบๆ แล้วจะเห็นได้ว่า ไม่ว่าจะเป็นโคมไฟ เก้าอี้ สระน้ำหรือน้ำในห้องน้ำของเรานั้นมีการเคลื่อนไหวผิดปกติ โดยจุดเริ่มต้นมาจากการสั่นสะเทือนในเมียนมา ตามรายงานของศูนย์สำรวจทางภูมิศาสตร์ของสหรัฐฯ ได้มีรายงานว่า เป็นแผ่นดินไหวในเมียนมาที่มีขนาดถึง 7.7 แมกนิจูด ที่มีศูนย์กลางแผ่นดินไหวลึกลงไปในใต้ดินถึง 10 กิโลเมตร ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ สร้างความเสียหายรุนแรงทั้งในเมียนมาและขยายผลกระทบไปถึงกรุงเทพฯ ของประเทศไทย ซึ่งอยู่ห่างออกไปว่า 1,000 กิโลเมตร

อ่านต่อ
เกิดแผ่นดินไหวที่เมียนมาขนาด 7.7 สะเทือนถึงไทย กทม. เป็นพื้นที่เสี่ยงที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว

เกิดแผ่นดินไหวที่เมียนมาขนาด 7.7 สะเทือนถึงไทย กทม. เป็นพื้นที่เสี่ยงที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว

29/03/2025

เกิดแผ่นดินไหวที่เมียนมาขนาด 7.7 สะเทือนถึงไทย กทม. เป็นพื้นที่เสี่ยงที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ได้มีการเกิดแผ่นดินไหวที่ประเทศเมียนมาสะเทือนมาถึงประเทศไทยในช่วงเวลาประมาณ 13.20 น. ตามเวลาในประเทศไทย เป็นแผ่นดินไหวในเมียนมาที่มีขนาดถึง 7.7 แมกนิจูด ที่มีศูนย์กลางแผ่นดินไหวลึกลงไปในใต้ดินถึง 10 กิโลเมตร ใกล้เมืองมัณฑะเลย์ สร้างความเสียหายรุนแรงทั้งในเมียนมาและขยายผลกระทบไปถึงกรุงเทพฯ ของประเทศไทย ซึ่งอยู่ห่างออกไปว่า 1,000 กิโลเมตร แผ่นดินไหวครั้งนี้! รุนแรงสุดในรอบ 100 ปี

อ่านต่อ
Uto